คือ ส่วนต่างของมูลค่าหุ้นที่เพิ่มขึ้นจากการขายหุ้นในราคาสูงกว่าราคาพาร์
💲สูตรการหาค่าส่วนเกินมูลค่าหุ้น : (ราคาขาย-ราคาพาร์) x จำนวนหุ้น
➡ราคาพาร์ คือ ราคาของหุ้นที่ตราไว้ ณ วันที่จัดตั้งบริษัท คำนวณจาก : ทุนจดทะเบียน ÷ จำนวนหุ้น
ตัวอย่าง “ส่วนเกินมูลค่าหุ้น” แบบง่ายๆ Ep.2
จาก Ep ที่แล้วเราได้ทำความรู้จักกับ “ส่วนเกินมูลค่าหุ้น” เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ใน Ep นี้ AccRevo มีตัวอย่างของส่วนเกินมูลค่าหุ้น แบบเข้าใจง่ายๆ มาให้ทุกท่านทราบกันนะคะ
🏢บริษัท A
1️⃣จดทะเบียนบริษัท
▪️มีทุนจดทะเบียนบริษัท ณ วันที่จัดตั้ง แบ่งเป็น 100,000 หุ้น หุ้นละ 10 บาท (ราคาพาร์)
= 1,000,000 บาท
2️⃣เพิ่มทุน
▪️ระดมทุนโดยการเพิ่มทุนจำนวน 200,000 หุ้น โดยขายในราคา 20 บาท / หุ้น
= 4,000,000 บาท
➡แบ่งเป็น
▪️ทุน (ราคาพาร์) (10 x 200,000 ) = 2,000,000 บาท
▪️ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ((20-10) x 200,000) = 2,000,000 บาท
3️⃣หลังจากเพิ่มทุน
▪️บริษัท A มีทุนจดทะเบียนรวมทั้งสิ้น = 3,000,000 บาท
▪️ส่วนเกินมูลค่าหุ้น = 2,000,000 บาท
▪️รวม ส่วนของผู้ถือหุ้นทั้งหมด = 5,000,000 บาท
ต้องบอกเลยว่า "สามารถทำได้ค่ะ" แต่มีเงื่อนไขว่า ในหนังสือบริคณห์สนธิ ได้อนุญาตตามวัตถุประสงค์ของบริษัทจำกัด
▪ โดยแบ่งออกเป็น 2 กรณี ได้แก่
1.เมื่อผู้ขายได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเป็นที่เรียบร้อย
2.เมื่อผู้ขายได้จดทะเบียนเพิ่มทุนโดยการออกหุ้นใหม่
🌟Account & Tax Update
💬 “ส่วนเกินมูลค่าหุ้น” Ep.4 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นมีภาษีไหม? 🤔
➡ โดยปกติแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น "ไม่มีการเสียภาษี" ค่ะ แต่หากมีเจตนาอำพราง จะถือเป็นเงินได้ของทั้งบริษัทฯ ผู้ออกหุ้นเพิ่มทุนและผู้ซื้อหุ้นเพิ่มทุน จะต้องเสียภาษีเงินได้ค่ะ
ex : บริษัทฯ ได้ออกหุ้นเพิ่มทุน เพื่อเป็นเงินให้เปล่า เงินอุดหนุน และ เงินช่วยเหลืออื่นใดราคาส่วนเกินกว่า มูลค่าหุ้นเกินกว่าความเป็นจริง ถือว่ามีเจตนาอำพราง
“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น” คือ ส่วนต่างของมูลค่าหุ้นที่เพิ่มขึ้นจากการขายหุ้นในราคาสูงกว่าราคาพาร์
💲สูตรการหาค่าส่วนเกินมูลค่าหุ้น : (ราคาขาย-ราคาพาร์) x จำนวนหุ้น
➡️ราคาพาร์ คือ ราคาของหุ้นที่ตราไว้ ณ วันที่จัดตั้งบริษัท คำนวณจาก : ทุนจดทะเบียน ÷ จำนวนหุ้น
🌟ตัวอย่าง “ส่วนเกินมูลค่าหุ้น” แบบง่ายๆ by AccRevo
🏢บริษัท A
1️⃣จดทะเบียนบริษัท
▪️มีทุนจดทะเบียนบริษัท ณ วันที่จัดตั้ง แบ่งเป็น 100,000 หุ้น หุ้นละ 10 บาท (ราคาพาร์)
= 1,000,000 บาท
2️⃣เพิ่มทุน
▪️ระดมทุนโดยการเพิ่มทุนจำนวน 200,000 หุ้น โดยขายในราคา 20 บาท / หุ้น
= 4,000,000 บาท
➡️แบ่งเป็น
▪️ทุน (ราคาพาร์) (10 x 200,000 ) = 2,000,000 บาท
▪️ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ((20-10) x 200,000) = 2,000,000 บาท
3️⃣หลังจากเพิ่มทุน
▪️บริษัท A มีทุนจดทะเบียนรวมทั้งสิ้น = 3,000,000 บาท
▪️ส่วนเกินมูลค่าหุ้น = 2,000,000 บาท
▪️รวม ส่วนของผู้ถือหุ้นทั้งหมด = 5,000,000 บาท
🌟Account & Tax Update
💬ถาม-ตอบ ประเด็นยอดฮิต “ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”
1️⃣ ถาม : อยากขายหุ้นให้มีส่วนเกินมูลค่าหุ้น สามารถทำได้ไหม?
🗣ตอบ : "สามารถทำได้ค่ะ" แต่มีเงื่อนไขว่า ในหนังสือบริคณห์สนธิ ได้อนุญาตตามวัตถุประสงค์ของบริษัทจำกัด
▪️โดยแบ่งออกเป็น 2 กรณี ได้แก่
1.เมื่อผู้ขายได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเป็นที่เรียบร้อย
2.เมื่อผู้ขายได้จดทะเบียนเพิ่มทุนโดยการออกหุ้นใหม่
2️⃣ถาม : ส่วนเกินมูลค่าหุ้นมีภาษีไหม?
🗣ตอบ : "ไม่มีการเสียภาษี" ค่ะ แต่หากมีเจตนาอำพราง จะถือเป็นเงินได้ของทั้งบริษัทฯ ผู้ออกหุ้นเพิ่มทุนและผู้ซื้อหุ้นเพิ่มทุน จะต้องเสียภาษีเงินได้ค่ะ
เช่น : บริษัทฯ ได้ออกหุ้นเพิ่มทุน เพื่อเป็นเงินให้เปล่า เงินอุดหนุน และ เงินช่วยเหลืออื่นใดราคาส่วนเกินกว่า มูลค่าหุ้นเกินกว่าความเป็นจริง ถือว่ามีเจตนาอำพราง
🙏ขอขอบคุณทุกท่านที่ติดตาม Series บัญชี-ภาษี เรื่อง “ส่วนเกินมูลค่าหุ้น” เป็นอย่างมากนะคะ สำหรับ Series เรื่องถัดไป AccRevo จะนำเสนอเรื่องใด อย่าลืมติดตามได้ที่ เพจ AccRevo นะคะ 📊สนใจผู้ช่วยวางแผนโครงสร้างธุรกิจ วางแผนภาษีและเครื่องมือจัดการธุรกิจดิจิทัลที่ตอบโจทย์ ติดต่อ AccRevo ได้เลยค่า
.
☑️☑️สนใจทดลองใช้ระบบ AccRevo ☑️☑️
สามารถลงทะเบียนรับสิทธิ์ทดลองใช้งานฟรี 30 วัน
คลิกที่ลิ้งค์เลยค่า >> https://bit.ly/2H8HqFE
➡️ติดตามข่าวสาร สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
ID Line : @accrevo
Facebook : Accrevo : Platform บัญชีดิจิทัล
Instagram : accrevo_ai
Youtube chanel : Accrevo : Platform บัญชีดิจิทัล
โทร : 086-531-6211
Website : www.accrevo.com
#AccRevo
#AccountingIntelligencePlatform
#สำนักงานบัญชีดิจิทัล
#ส่วนเกินมูลค่าหุ้น